จัดเป็นกล้วยพื้นเมืองที่พบได้ทั่วไปในทุกภาค
เป็นกล้วยที่นิยมปลูกไว้ในทุกครัวเรือนเพื่อการรับประทานผลสุก และแปรรูปผลดิบ
รวมถึงการนำส่วนต่างๆมาใช้ประโยชน์
โดยเฉพาะใบตองที่ใช้สำหรับห่ออาหารหรือประกอบอาหาร ปลีกล้วย
และหยวกกล้วยสำหรับนำมาปรุงอาหาร
กล้วยน้ำว้า
เป็นกล้วยที่เกิดจากการผสมข้ามพันธุ์ของกล้วยป่า 2 ชนิด
ได้แก่
1. Musa acuminate
2. Musa balbisaina
1. Musa acuminate
2. Musa balbisaina
• วงศ์ : Musaceae
• ชื่อวิทยาศาสตร์ : Musa sapientum Linn.
• ชื่อสามัญ :
– Banana blossom
– Pisang Awak
• ชื่อท้องถิ่นไทย :
ภาคกลาง และทั่วไป
– กล้วยน้ำว้า
ภาคเหนือ
– กล้วยใต้
– กล้วยเหลือง
ภาคอีสาน
– กล้วยตานีอ่อง
– กล้วยอ่อง
ภาคตะวันออก
– กล้วยมะลิอ่อง
ต่างประเทศ
ฟิลิปินส์ : Katali
อินโดนีเซีย และมาเลซีย : Pisang Awak
ปาปัวนิวกินี : Yava
ควีนแลนด์ : Ducasse
พม่า : Yakhine
อินเดีย :
– Pey kunnan Kostha bontha
– Monohar
– Sail kolo
ศรีลังกา : Seenikehel
เคนยา : Nyeupe
• ชื่อวิทยาศาสตร์ : Musa sapientum Linn.
• ชื่อสามัญ :
– Banana blossom
– Pisang Awak
• ชื่อท้องถิ่นไทย :
ภาคกลาง และทั่วไป
– กล้วยน้ำว้า
ภาคเหนือ
– กล้วยใต้
– กล้วยเหลือง
ภาคอีสาน
– กล้วยตานีอ่อง
– กล้วยอ่อง
ภาคตะวันออก
– กล้วยมะลิอ่อง
ต่างประเทศ
ฟิลิปินส์ : Katali
อินโดนีเซีย และมาเลซีย : Pisang Awak
ปาปัวนิวกินี : Yava
ควีนแลนด์ : Ducasse
พม่า : Yakhine
อินเดีย :
– Pey kunnan Kostha bontha
– Monohar
– Sail kolo
ศรีลังกา : Seenikehel
เคนยา : Nyeupe
พันธุ์กล้วยน้ำว้าที่พบในไทย ได้แก่
– กล้วยน้ำว้าแดง
– กล้วยน้ำว้าค่อม
– กล้วยน้ำว้าเหลือง
– กล้วยน้ำว้าขาว
– กล้วยน้ำว้านวล
– กล้วยน้ำว้าแดง
– กล้วยน้ำว้าค่อม
– กล้วยน้ำว้าเหลือง
– กล้วยน้ำว้าขาว
– กล้วยน้ำว้านวล
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
- ราก และลำต้นกล้วยน้ำว้า
ส่วนรากล้วยจะมีเพียงระบบรากแขนงที่แตกออกจากเหง้ากล้วย
รากแขนงนี้มีลักษณะเป็นเปลือกหุ้มสีดำ แก่นรากมีสีขาว ขนาดของรากประมาณ 0.5-1
ซม. หรือ ขนาดประมาณเท่านิ้วก้อย
- ใบกล้วย/ใบตอง
- ดอก และผลกล้วยน้ำว้า
ผลกล้วยจะเจริญจากดอก
ผลอ่อนมีลักษณะเปลือกผลสีเขียว และเป็นเหลี่ยม ผลห่ามจะมีเหลี่ยมน้อยหรืออวบกลม
ไม่มีเหลี่ยม และจะมีสีเขียวอมเทา ส่วนผลสุก เปลือกผลจะค่อยเปลี่ยนเป็นสีเหลือง
เนื้อกล้วยที่ถัดจากเปลือกผล
เมื่อยังอ่อนจะมีสีขาว เนื้อแน่นเหนียว แต่หากสุกจะมีสีเหลืองอ่อน
เนื้อสุกมีลักษณะอ่อนนุ่ม ให้รสหวาน แต่ไม่ส่งกลิ่นหอมเหมือนกล้วยชนิดอื่น เช่น
กล้วยหอม
แหล่งข้อมูล:ไทยเกษรศาสตร์"กล้วย:สรรพคุณของกล้วยกับการรักษาโรค".[ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก http://www.thaikasetsart.com/กล้วยสรรพคุณของกล้วยกั [13/04/2019]
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น